พระมหากษัตริย์ไทยกับพระไตรปิฎก ตอน ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์สถาปนาขึ้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี รัชกาลที่ ๑ ทรงย้ายราชธานีจากฝั่งกรุงธนบุรีมาฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา และพระราชทานนามราชธานีแห่งใหม่ว่า “กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ฯ”
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ประมาทแล้วต้องตั้งต้นใหม่ (๑)
การที่ ข้าพเจ้ามีความประมาท ประพฤติอกุศลธรรม ประกอบทุจริตกรรม ก็เพราะข้าพเจ้ามีความต้องการจะได้ทรัพย์มาบำรุงเลี้ยงบิดามารดา เลี้ยงดูบุตรภรรยา ต้องสงเคราะห์ ให้แก่ญาติสายโลหิต ต้องทำบุญส่งไปให้แก่บุรพเปตชน ต้องบวงสรวงแก่เทวดา ต้องทำกิจให้แก่องค์พระราชาธิบดี ฉะนั้น ขอท่านนายนิรยบาล ได้โปรดเมตตากรุณาต่อข้าพเจ้าด้วยเถิด
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๕)
มนุษย์ที่เกิดมา ล้วนมีวัตถุประสงค์เพื่อมาสร้างบารมี มาปฏิบัติธรรม เพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายภายใน
อานิสงส์บูชาพระรัตนตรัยด้วยรัตนชาติ
ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้หรือในโลกอื่น หรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้น เสมอด้วยพระตถาคตไม่มีเลย พุทธรัตนะแม้นี้ เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย
อานิสงส์ถวายสังฆาราม
การทำบุญวิหารทานเป็นสังฆาราม เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญ เพราะเป็นการอำนวยความสะดวกแด่พระสงฆ์ผู้ประพฤติธรรม
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๑ )
สัมมาทิฏฐิเบื้องต้นทั้ง ๑๐ ประการนี้ เปรียบเสมือนลู่ที่ให้เราวิ่งไปตามทาง เหมือนแสงทองส่องนำชีวิตให้ก้าวไปสู่ความสุขความสำเร็จ จึงต้องตอกย้ำบ่อยๆ เพื่อเป็นการทบทวนด้วยว่า เรามีสัมมาทิฏฐิครบถ้วนบริบูรณ์แล้วหรือยัง
ของจริงต้องคู่กับคนจริงนั้นเป็นอย่างไร
ข้อความที่ว่า “ของจริงต้องคู่กับคนจริง” นั้นเป็นอย่างไร? ทำไมบางคนเข้าวัดปฏิบัติธรรม สวดมนต์นั่งสมาธิไม่เคยขาด แต่ยังไม่เข้าถึงพระธรรมกายบางคนกว่าจะชวนเข้าวัดได้ก็แสนยาก แต่พอมานั่งสมาธิกลับเข้าถึงพระธรรมกายได้ง่าย ๆ
พิธีทรงตั้งเปรียญธรรม ๓ ประโยคเขตปกครองคณะสงฆ์กรุงเทพมหานคร
ผู้ปฎิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เป็นประธานในพิธีทรงตั้งเปรียญธรรม ๓ ประโยคและประโยค ๑-๒ แก่พระภิกษุสามเณรในเขตปกครองคณะสงฆ์กรุงเทพมหานคร
คาถาหัวใจเศรษฐี-หลวงพ่อตอบปัญหา
คนที่ท่องหัวใจเศรษฐีคือ “อุ อา กะ สะ” เพราะเชื่อว่าจะทำให้รวยได้ คาถานี้จะช่วยคนเราเป็นเศรษฐีได้จริงหรือไม่,ถ้าเราอยากเป็นเศรษฐีข้ามภพข้ามชาติ จะต้องปฏิบัติตามหลักธรรมข้อใดบ้าง,มีหลักธรรมข้อใดบ้าง ที่จะทำให้ครอบครัวและวงศ์ตระกูลตั้งอยู่ได้อย่างมั่นคง
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2554” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป